Page 6 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 6
4
4) คลุมด้วยฟาง โดยน าฟาง (ทั้งก้อน) แช่น้ า 2 คืน และน ามาคลุมแปลงฟ้าทะลายโจร พื้นที่ 1 ไร่ใช้ฟาง
ประมาณ 5 ก้อน วัตถุประสงค์ในการคลุมฟางเพื่อป้องกันเมล็ดกระเด็นตอนให้น้ า และเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในดิน
5) การดูแลรักษา ให้น้ าวันละ 3 ครั้ง โดยน้ าที่ใช้เป็นน้ าบาดาลมีการน ามาพักไว้ในสระที่มีการปลูกหญ้าแฝก
ป้องกันชะล้างพังทลายของสระและรักษาคุณภาพน้ าด้วยการดูดซับและกรองของเสีย (การให้น้ าแบบน้ าพุ่ง /น้ าหยด
โดยใช้โซลาร์เซลล์ในการดึงน้ า ท าให้ลดต้นทุนผลิต) และมีการน าเทคโนโลยี IoT (ระบบสูบน้ าพลังงานแสงอาทิตย์ แบบ
ทุ่นลอยน้ า ในพื้นที่การเกษตร) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากส านักงานพลังงานจังหวัดนครสวรรค์ และสถาบันวิจัยและ
พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร่วมกับ อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร และอุทยานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อต่อยอดโครงการที่จัดท าสู่การใช้งานได้จริง เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน ลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เทคโนโลยีเพิ่มโอกาสการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
6) การให้ปุ๋ย
(6.1) การใช้ปุ๋ยหมักขี้วัว และน้ าหมักชีวภาพ พด.2 (ผลิตจากนม)
(6.2) ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรเกษตรอินทรีย์
7) การเก็บเกี่ยวผลผลิต ใน 1 รอบการผลิต (เริ่มปลูกเดือนเมษายน) จะเก็บเกี่ยวทั้งหมด 3 ครั้ง ดังนี้
(7.1) ครั้งที่ 1 เก็บเกี่ยวเมื่อต้นฟ้าทะลายโจร มีอายุ 3 เดือน (เดือนกรกฎาคม)
(7.2) ครั้งที่ 2 เก็บเกี่ยวหลังจากครั้งแรก 1 เดือน หรือเมื่อฟ้าทะลายโจรมีอายุ 4 เดือน (เดือน
สิงหาคม)
(7.3) ครั้งที่ 3 เก็บเกี่ยวหลังจากครั้งที่ 2 1 เดือน หรือเมื่อฟ้าทะลายโจรมีอายุ 5 เดือน (เดือน
กันยายน)
หลังจากนั้นจะปล่อยไว้เพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์ (เดือนพฤศจิกายน)
8) ขั้นตอนการท าฟ้าทะลายโจรแห้ง
(8.1) น าฟ้าทะลายโจรที่ตัดได้ไปล้างน้ า น าไปสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วน าไปใส่ถุงหมัก 4-5 ชั่วโมง
(8.2) น าไปตากในโรงอบ 2 วัน โดยค่าแสงต้องไม่เกิน 60 % (โรงอบต้องขึงสแลนเพื่อควบคุมแสงให้
ไม่เกิน 60 %