Page 36 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 36

34




           8. ในการเพิ่มผลผลิตพืชในชุดดินพื้นที่ทางการเกษตรของท่าน ท่านได้ใช้ความรู้ ทักษะ หรือพฤติกรรมอะไร
           และท า อย่างไร ท าให้ประสบความส าเร็จ เช่น การจัดการดิน การดูแลรักษาแปลง แหล่งน้ าที่ใช้ ระยะเก็บ

           เกี่ยวผลผลิต
                 ได้รับองค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน ได้แก่ ความรู้ในการปรับปรุงคุณภาพดิน และลดต้นทุนการผลิต
           กิจกรรม การผลิตปุ๋ยหมัก และน้ าหมักชีวภาพ รวมทั้งการบริการวิเคราะห์ดินและให้ค าแนะน าการจัดการดิน

           โดยเริ่มจากการศึกษาข้อมูลของพื้นที่โดยการเก็บตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์เพื่อให้ได้ค าแนะน าการจัดการดิน
           พบว่าที่แปลงสมุนไพร เป็นชุดดินกลางดง ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง

           สีน้ าตาลเข้มถึงสีน้ าตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) จ าเป็นต้องปรับปรุง
           คุณภาพดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ของดินดีขึ้น โดยมีวิธีการดังนี้
                1) การปลูกขมิ้นชัน การเตรียมแปลงช่วงเดือน มกราคม - มีนาคม ท าการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการหว่าน

           ปอเทืองเพื่อเป็นพืชปุ๋ยสดก่อนการจัดการแปลง ไถดะตากดินไว้ 7 วัน ไถแปรพร้อมยกร่อง ระยะ 25x30x15 ซม.
           การเตรียมพันธุ์ใช้ต้นพันธุ์ อายุ 8 เดือนขึ้นไป การปลูกจะใส่ปุ๋ยหมัก (สารเร่งซุปเปอร์ พด. 1) รองก้นหลุม 250

           กรัม/ต้น/หลุม










               2) การปลูกฟ้าทะลายโจร เกษตรกรมีการปลูกแบบ 1) การปลูกแบบหว่าน การเตรียมแปลงปลูกไถดะตาก
           ดินไว้ 7 วัน ไถแปรไถพรวนยกร่อง ระยะ 1.2 x 15 เมตร  หลังจากมีการเจริญเติบโตจะใช้ฟางคลุมเพื่อช่วยรักษา

           ความชื้นดินในช่วงหน้าแล้ง 2) การปลูกโดยใช้กล้า โดยการปลูกในบล็อกปลูกระยะ 1.2 x 12 เมตร  การปลูกใน
           บล็อกท าการเตรียมดินโดยใส่ปุ๋ยหมักอัตรา 20 กิโลกรัมต่อบล็อก โดยใช้อายุกล้าประมาณ 1 เดือนหรือมีใบอ่อน

           4-6 ใบ ย้ายลงแปลงปลูกในบล็อกๆละ 300 กล้า















               3) การจัดการดินในแปลง ใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยผลิตปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 โดยวัตถุดิบในการท า
            ปุ๋ยหมัก ประกอบด้วย กากอ้อย มูลสัตว์ และร า และ เป็นการปรับปรุงบ ารุงดินและโครงสร้างของดิน

            เพิ่มอินทรียวัตถุ และธาตุอาหารให้แก่ดิน และจะเก็บตัวอย่างดินเพื่อส่งตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41